คู่มือการติดตั้ง และดูแลรักษา AIR BLOWER ยี่ห้อ LONGTECH
การติดตั้ง
1. ควรติดตั้งเป่าลมให้บริเวณที่สะอาดและปราศจากฝุ่น และมีพื้นที่พอเพียงในการซ่อมบำรุงรักษาเครื่องเป่าลม
2. เครื่องเป่าลมควรถูกติดตั้งในพื้นที่ที่มีอุณหภูมิห้อง ไม่เกิน 40 องศาเซลเซียส
3. กรณีติดตั้งอย่างถาวร ควรมีการทำฐานคอนกรีต เพื่อรองรับตัวเครื่องเป่าลม
การเดินท่อ
1. การเดินท่อทั้งทางด้านส่งและเป่าควรมีขนาดใหญ่เพียงพอ เพื่อรองรับปริมาณลมที่มากที่สุด
2. ควรใช้ข้อต่อ และท่อที่เป็นเหล็กในการเดินท่อต่อกับเครื่องเป่าลม
3. ควรติดตั้งข้อต่อยืดหยุ่น Flexible joint กับตัวเครื่องเป่าลม และหลีกเลี่ยงการใช้ท่อทางเดิน และข้อต่อที่ไม่เหมาะสมกับขนาดเครื่องเป่าลม
4. ควรมีการทำความสะอาดท่อทางเดินของลมก่อนติดตั้งกับตัวเครื่องเป่าลม
5. ควรติดตั้งวาวล์กันกลับที่ท่อทางส่งของเครื่องเป่าลม เพื่อป้องกันการตีกลับของลม
การต่อไฟ
1. มอเตอร์ควรมีระบบ OVERLOAD PROTECTION
2. ขณะติดตั้งเครื่องควรตรวจสอบทิศทางการหมุนของมอเตอร์ และเครื่องเป่าลม
การตรวจสอบเครื่องเป่าลมก่อนเริ่มต้นทำงาน
1. ตรวจสอบเครื่องเป่าลมว่ามีสิ่งสกปรกหรืออุดตันก่อนการเริ่มต้นทำงานของเครื่องเป่าลม
2. ตรวจสอบท่อทางเดินของเครื่องเป่าลมว่าปราศจากสิ่งอุดตัน
3. ตรวจสอบข้อต่อของท่อทางเดินว่าอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์
4. ตรวจสอบวาวล์อยู่ในตำแหน่งเปิด
5. ตรวจสอบสายไฟอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์
6. ตรวจสอบมูเล่ของมอเตอร์และเครื่องเป่าลมอยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้องและเหมาะสม
7. ตรวจสอบสภาพสายพานว่าอยู่ในสภาพที่ดีและพร้อมใช้งาน
8. ตรวจสอบสภาพของสายพานหลังจากใช้งานครั้งแรกเป็นเวลา 1 สัปดาห์ ว่าควรมีการปรับความตึง-หย่อนของสายพาน เพื่อความเหมาะสม
9. ตรวจสอบทิศทางการหมุนของเครื่องเป่าลมว่าถูกต้อง
10. ตรวจสอบการทำงานของ Safety valve เมื่อแรงดันเกินกว่าปกติ 1.1 - 1.5 เท่า
11. ตรวจสอบระดับน้ำมันอย่างสม่ำเสมอ เมื่อเครื่องเป่าลมไม่ได้ทำงาน ระดับน้ำมันควรจะอยู่กึ่งกลางของระดับวัดน้ำมัน การเปลี่ยนถ่ายน้ำมันควรเปลี่ยนทุกๆ 3 เดือน น้ำมันที่เหมาะคือ Castrol Hypoy B 90 มาตราฐาน GL5
การดูแลบำรุงรักษารายวัน
1. ตรวจสอบสภาพวาวง์
2. ตรวจสอบระดับน้ำมัน
3. ตรวจสอบแรงดันด้านส่ง
4. ตรวจสอบกระแสไฟมอเตอร์
5. ตรวจสอบระดับเสียงที่ผิดปกติ
6. ตรวจสอบการสั่นสะเทือนที่ผิดปกติ
การดูแลบำรุงรักษาทุกๆ 3 เดือน
1. ตรวจสอบการทำงาน Safety valve
2. ตรวจสอบข้อต่อทางเดินของท่อ
3. ตรวจสอบสภาพสายพาน
4. ตรวจสอบการทำงานของเกียร์ และลูกปืน
5. เปลี่ยนน้ำมัน
6. ตรวจสอบสภาพวาวล์
การดูแลบำรุงรักษารายปี
1. เปลี่ยนสายพาน
2. ทำความสะอาดท่อส่งและท่อดูด
การดูแลบำรุงรักษาทุกๆ 2 ปี
1. เปลี่ยนลูกปืนและซิลน้ำมัน
2. ทำความสะอาดเสื้อเครื่องเป่าลม
การดูแลรักษาทุกๆ 4 ปี
1. เปลี่ยนเกียร์
https://www.airpumpcenter.supply
AIRPUMPCENTER
วันจันทร์ที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2561
วันจันทร์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2560
แผนผังรูปแบบการติดตั้งปั๊มน้ำกรุนด์ฟอส
แผนผังรูปแบบการติดตั้งปั๊มน้ำกรุนด์ฟอส
วันนี้เราจะมาดูรูปแบบของการติดตั้งปั๊มในรูปแบบที่ต่างกันนะคะ
1. ติดตั้งแบบถังพักน้ำด้านดูดอยู่ใต้ดิน
• ควรใช้กับน้ำสะอาด
• ควรติดตั้งไกล้บ่อพักน้ำให้มากที่สุด
• ควรเดินท่อด้านดูด ให้สั้น ไม่รั่วซึมและข้องอน้อยที่สุด
• ควรใช้ท่อตามขนาด เข้า-ออก ของปั๊มน้ำ
• ไม่ควรติดตั้งปั๊มน้ำในที่โล่งแจ้ง
2. ติดตั้งแบบถังพักน้ำด้านดูดอยู่บนใต้ดิน
--ใครที่กำลังจะติดตั้งปั๊มน้ำลองดูเป็นแนวทางกันได้นะคะ--
New website : https://www.airpumpcenter.supply
Website : http://www.airpumpcenter.com
วันนี้เราจะมาดูรูปแบบของการติดตั้งปั๊มในรูปแบบที่ต่างกันนะคะ
1. ติดตั้งแบบถังพักน้ำด้านดูดอยู่ใต้ดิน
• ควรใช้กับน้ำสะอาด
• ควรติดตั้งไกล้บ่อพักน้ำให้มากที่สุด
• ควรเดินท่อด้านดูด ให้สั้น ไม่รั่วซึมและข้องอน้อยที่สุด
• ควรใช้ท่อตามขนาด เข้า-ออก ของปั๊มน้ำ
• ไม่ควรติดตั้งปั๊มน้ำในที่โล่งแจ้ง
2. ติดตั้งแบบถังพักน้ำด้านดูดอยู่บนใต้ดิน
--ใครที่กำลังจะติดตั้งปั๊มน้ำลองดูเป็นแนวทางกันได้นะคะ--
New website : https://www.airpumpcenter.supply
Website : http://www.airpumpcenter.com
วันจันทร์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2560
ข้อควรระวัง! ของปั๊มเคมี ยี่ห้อ MILTON ROY LMI model G Series
ข้อควรระวัง
• ก่อนเดินปั๊มทุกครั้งต้องเปิดวาล์วด้านดูดและจ่ายก่อน
• เมื่อปรับอัตราการจ่ายเรียบร้อย ต้องล็อคปุ่มปรับทุกครั้ง
• ไม่ควรปรับอัตราการจ่ายต่ำกว่า 0%
• เมื่อมีสิ่งผิดปกติ เช่น มีเคมีหรือน้ำมันรั่ว ให้หยุดเดินปั๊ม และรีบแจ้งทางตัวแทน เพื่อป้องกันความเสียหายของปั๊ม
• ก่อนเดินปั๊มทุกครั้งต้องเปิดวาล์วด้านดูดและจ่ายก่อน
• เมื่อปรับอัตราการจ่ายเรียบร้อย ต้องล็อคปุ่มปรับทุกครั้ง
• ไม่ควรปรับอัตราการจ่ายต่ำกว่า 0%
• เมื่อมีสิ่งผิดปกติ เช่น มีเคมีหรือน้ำมันรั่ว ให้หยุดเดินปั๊ม และรีบแจ้งทางตัวแทน เพื่อป้องกันความเสียหายของปั๊ม
New website : https://www.airpumpcenter.supply/16793537/g-series
ปัญหาและการแก้ไขเบื้องต้นของปั๊มเคมี ยี่ห้อ MILTON ROY LMI model G Series
ปัญหาและการแก้ไขเบื้องต้น
1. ปั๊มทำงานแต่ไม่มีสารเคมีออกมา
• มีอากาศอยู่ในหัวปั๊ม
• แผ่นไดอะแฟรมแตก
• ไม่เติมน้ำมันเกียร์ หรือเติมน้อยเกินไป (จะทำให้เฟืองด้านในเสียหายได้)
• มอเตอร์หมุนผิดทาง (ต้องหมุนตามเข็มนาฬิกา เมื่อมองจากด้านบน)
2. มีน้ำมันรั่วบริเวณจุกเดรนด้านล่างปั๊ม
• Oil seal ชำรุด
3. มีเคมีรั่วบริเวณจุกเดรนด้านล่างปั๊ม
• แผ่นไดอะแฟรมแตก (ให้หยุดปั๊มทันที)
4. มีน้ำมันรั่วบริเวณปุ่มปรับอัตราการสูบจ่าย
• ไม่ได้ล็อคปุ่มปรับ
• ปรับอัตราการจ่ายต่ำากว่า 0%
• มีอากาศอยู่ในหัวปั๊ม
• แผ่นไดอะแฟรมแตก
• ไม่เติมน้ำมันเกียร์ หรือเติมน้อยเกินไป (จะทำให้เฟืองด้านในเสียหายได้)
• มอเตอร์หมุนผิดทาง (ต้องหมุนตามเข็มนาฬิกา เมื่อมองจากด้านบน)
2. มีน้ำมันรั่วบริเวณจุกเดรนด้านล่างปั๊ม
• Oil seal ชำรุด
3. มีเคมีรั่วบริเวณจุกเดรนด้านล่างปั๊ม
• แผ่นไดอะแฟรมแตก (ให้หยุดปั๊มทันที)
4. มีน้ำมันรั่วบริเวณปุ่มปรับอัตราการสูบจ่าย
• ไม่ได้ล็อคปุ่มปรับ
• ปรับอัตราการจ่ายต่ำากว่า 0%
วันอาทิตย์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2560
การบำรุงรักษาปั๊มเคมี ยี่ห้อ MILTON ROY LMI model G Series
การบำรุงรักษาปั๊มเคมี
• ควรตรวจสอบสภาพทั่วไปของปั๊มเคมีอย่างสม่าเสมอ
• ควรตรวจสอบรอยรั่วตามจุดข้อต่อต่างๆอย่างสม่าเสมอ
• ควรตรวจเช็คหรือเปลี่ยนชิ้นส่วนต่างๆที่อาจเสื่อมสภาพได้ ตามการใช้งาน
• ดูแลรักษาความสะอาดตัวเรือนปั๊ม
• ควรตรวจสอบสภาพทั่วไปของปั๊มเคมีอย่างสม่าเสมอ
• ควรตรวจสอบรอยรั่วตามจุดข้อต่อต่างๆอย่างสม่าเสมอ
• ควรตรวจเช็คหรือเปลี่ยนชิ้นส่วนต่างๆที่อาจเสื่อมสภาพได้ ตามการใช้งาน
• ดูแลรักษาความสะอาดตัวเรือนปั๊ม
New website : https://www.airpumpcenter.supply/16793537/g-series
วันศุกร์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2560
ปัญหาปั๊มไม่สูบจ่ายของ Metering Pump ยี่ห้อ MILTON ROY LMI model G Series
ตัวอย่างปัญหาที่เกิดขึ้นกับตัวปั๊ม Metering Pump ยี่ห้อ MILTON ROY LMI model G Series คืออาการปั๊มไม่สูบจ่าย
การตรวจเช็คเบื้องต้น
- ไม่มีไฟเข้าสู่ปั๊ม หรือจ่ายไฟผิด (1)
- เซ็ตปุ่มปรับสโตรกไว้ที่ 0 (2)
- ที่วาล์วขาดูด หรือที่ขาจ่ายถูกบล็อกอยู่ (Valve, Filter) (3)
- ของเหลวในถังเก็บไม่เพียงพอ
การตรวจเช็คเบื้องต้น
- ไม่มีไฟเข้าสู่ปั๊ม หรือจ่ายไฟผิด (1)
- เซ็ตปุ่มปรับสโตรกไว้ที่ 0 (2)
- ที่วาล์วขาดูด หรือที่ขาจ่ายถูกบล็อกอยู่ (Valve, Filter) (3)
- ของเหลวในถังเก็บไม่เพียงพอ
New website : https://www.airpumpcenter.supply/16793537/g-series
วันอาทิตย์ที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2560
วิธีประกอบเครื่องเติมอากาศกังหันตีน้ำ 4 ใบพัด
วิธีประกอบเครื่อง (กังหันตีน้ำไฟฟ้า 4 ใบพัด)
1. นำทุ่นมาตั้งเรียงกัน 3 ลำ
2. นำแท่น STL มาประกอบติดกับทุ่น โดยยึดน๊อตให้แน่น (ใช้น๊อต 12 ชุด)
3. นำตุ๊กตามาประกอบกับแท่น (ตามรูป) (ใช้น๊อต 4 ตัว)
4. ยกมอเตอร์เกียร์ขึ้นตั้งตรงกลางให้ได้ศูนย์กับตุ๊กตา (ใช้น๊อต 4 ตัว)
5. นำยางยอยครบชุดประกอบกับเพลาเกียร์ 2 ข้างให้แน่น
6. นำใบพัดสวมเข้าไปในเพลา STL 2 เส้น
7. ยึดน๊อตให้แน่นหมดทุกตัว
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)